คนไข้ใน ICU หรือ ER มักจะทำได้แต่ portable CXR supine เท่านั้น
ผมว่าที่ต่างกันจริงๆ คือเปอร์เซ็นต์ในการ detect lesion จะต่ำกว่า
- Supine position สิ่งที่ท่านอนแย่กว่าท่านั่ง คือ การจัดท่าหัวสูง 45 degree (semi-upright) จะช่วยได้บางส่วน
- AP versus PA แย่กว่า: หลังหัวใจ หลังกระบังลม เหนือ scapula
- Lack of full inspiration แย่กว่า: หลังหัวใจ หลังกระบังลม แยก infiltration กับเส้นเลือด
- ความไร้พลังของเครื่อง portable
- สิ่งที่ portable CXR supine มองเห็น แต่ CXR PA upright ไม่เห็น
- Finding lesion not on CXR PA upright, nor port nor supine
- Additional views
- หลังหัวใจ: lateral, oblique (ไม่แน่ใจ Lt lat oblique หรือ Rt lat ดี)
- หลังกระบังลม: lateral
- หลังไหปลาร้า: lordotic
- ซ้อนกับ scapula: lateral, oblique
- ซ้อนกับ hilum: lateral, oblique
- Detecting blind areas
แหล่งอ้างอิง: Chest X-RAY เล่ม 1 พื้นฐานและหลักการวินิจฉัยโรค / วิวัฒนา ถนอมเกียรติ.--พิมพ์ครั้งที่ 6.--สงขลา : หน่วยผลิตตำรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2557. ISBN 978-616-271-155-8
ปล. ยังหาคำตอบได้ไม่ครบครับ ถ้าใครคำตอบให้ผม จะกรุณาอย่างยิ่งถ้าพิมพ์ใน comment หรือส่ง email ขอบคุณครับ
ปล2. ไว้โอกาสหน้าจะหาคำตอบเรื่อง portable X-ray machine versus standard machine
No comments:
Post a Comment