Friday, June 19, 2015

Problem list is a grid, rather than a numbered list

เรื่องนี้มาจากไอเดียที่ว่า...
ผม approach ผู้ป่วยทุกคนเหมือนกัน คือ ตามระบบ
แต่อาจารย์และเพื่อนผมหลายๆคนบอกว่า แล้วแต่คนไข้ แล้วแต่ปัญหาที่คนไข้มี แล้ว problem list
แล้วคำตอบที่ถูกต้องคืออะไรล่ะ ทำอย่างไรไม่ให้ขาดตกสักปัญหา แล้วความละเอียดคืออะไร

ผมคิดว่าคำตอบคือ get อะไรโดยไม่ต้องเขียนทุกอย่าง ก็คือเขียน problem list เป็นโรค แต่ไม่ต้องเขียนเป็นระบบครับ จะได้ approach ถูก เราไม่สามารถเขียนทุกอย่างที่คิดได้ในทางปฏิบัติครับ เราควรคิดเป็นอย่างน้อย 2 หรือ 3 มิติขึ้นไป แต่ยังไงเราก็เขียนได้ทีละมิติครับ

ข้อเสนอแนะ...
มิติที่ 1 problem list ที่เราต้องวางแผนวิธี approach และ follow up ต่างกันไปตามแต่ละคนไข้
มิติที่ 2 approach ตามระบบ
  • Baseline status
  • CVS and vital signs
  • RS
  • KUB
  • Hematology
  • Endocrine
  • Neurology
  • GI and nutrition
  • Musculoskeletal
  • Skin, bed sore
  • Infectious diseases and antimicrobials
    • CBC and hemoculture
    • CXR and sputum culture
    • UA and urine culture
    • Bed sore / abscess and pus culture
  • Lines, tubes, prothesis and other potential infectious sources
มิติที่ 3 ตาม SOAP note
มิติอื่นอาจจะมีอีก แต่ต้องฝากช่วยกันคิดนะ

เพิ่มเติม...
แล้วจะจำแนกประเภทของ Problem list อย่างไรดีล่ะ
ผมขอแยก problem list ตาม etiology เป็น systemic ก่อน local แล้วก็ 'แก้ง่าย' ก่อน 'แก้ยาก'

  1. Systemic
    • Infection
    • Autoimmune / inflammatory
    • Malignancy
    • Degenerative
  2. Local
    1. Infection
    2. Trauma
    3. Degenerative
  3. Underlying conditions อื่นๆ

No comments:

Post a Comment